Monday, November 4, 2013

JCC北部タイ教育支援申請用紙

北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアムは、2009年より盤谷日本人商工会議所(JCC)から、北部タイにおいて日本語・日本研究を促進するための活動に支援をうけています。2010年度分日本語日本研究促進助成の募集を開始しましたのでお知らせいたします。

昨年分と同じく、募集資格については以下の通りです。

(1)日本語日本研究促進助成は、北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアムに加盟する機関に対して行われます。

詳細については、北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアム事務局までお問い合わせください。
電話 053-943284
Eーメール northconsortium@gmail.com

2009年度盤谷日本人商工会議所による日本語日本研究事業支援報告書 北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアム加盟機関の皆様、お変わりありませんでしょうか。

北部タイ日本語日本研究大学コンソーシアム加盟機関の皆様、お変わりありませんでしょうか。

昨年、盤谷日本人商工会議所からいただいた日本語日本研究事業支援事業のとりまとめを行いますので、活動報告書を提出していただきたいと思います。これまでに実施された分でかまいませんので、報告書をコンソーシアム事務局までお送りください。
締め切りは5月末日までにお願いします。

報告用紙は以下のリンクからダウンロードできます。
http://www.esnips.com/doc/3213356b-8dda-4104-a796-c500407ed35c/project-report-09

การจัดตั้งศูนย์เครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาในภาคเหนือ

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบัน การขยายโอกาสในการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นในภาคเหนือมีมากขึ้น จนกระทั่งมีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนภาษาญี่ปุ่นจำนวน 17 แห่ง โดยรวมมหาวิทยาลัยที่เปิดวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นจำนวน 9 แห่ง และสถาบันด้านญี่ปุ่นศึกษา 2 แห่ง
กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่น เช่น การประกวดสุนทรพจน์ภาษาญี่ปุ่นการประกวดการแสดงละครภาษาญี่ปุ่นบนเวที การประกวดร้องเพลงภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น ในอดีตมีการจัดที่กรุงเทพฯเพียงแห่งเดียว แต่ปัจจุบันได้เริ่มจัดกิจกรรมดังกล่าวในภาคเหนือแล้ว
เพื่อให้มีการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาในภาคเหนือมีมากยิ่งขึ้น โดยรวมถึงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาของแต่ละสถาบันการศึกษา ให้เกิดประโยชน์ต่อสถาบันที่สอนภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยที่เปิดวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นหรือจัดตั้งสถาบันด้านญี่ปุ่นศึกษา จำนวน 9 แห่ง ควรจจะจัดให้มีความร่่วมมือทางวิชาการและร่วมมือกันอย่างต่อเนื่อง โดยที่ผ่านมาตัวแทนของมหาวิทยาลัยทั้ง 9 แห่ง ยังไม่มีโอกาสเข้าร่วมหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างเป็นทางการ และยังไม่มีความต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อตอบสนองความจำเป็นดังกล่าว เห็นควรให้มีการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นระดับอุดมศึกษาภาคเหนือโดยมีชื่อองค์กรว่า ศูนย์เครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาในภาคเหนือ

เป้าหมาย
การจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาของแต่ละสถาบันในภาคเหนือ โดยรวมถึงการจัดประชุมและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็นให้เป็นประจำอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

สำนักงาน
สำนักงานของศูนย์เครือข่ายฯจะตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก

โครงสร้างและการบริหารของศูนย์เครือข่าย 
จัดตั้งคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยผู้แทนของแต่ละสถาบันซึ่งเป็นสมาชิกศูนย์เครือข่าย ตั้งดำแหน่ง ประธาน รองประธาน และเลขานุการ

การจัดตั้งโครงการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายฯวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2551

ประกาศการจัดตั้งศูนย์เครือข่ายฯวันที่ 1 มิถุนายน 2551

The 4th Conference for The Japanese Studies Network- Thailand: "Rethinking: Japan Thailand Mekong Relations"

เรียน ทุกท่านที่เคารพ
เนื่องด้วยคณะกรรมการเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทยจะจัดงานการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 4
ระหว่างวันที่ 14-15 ตุลาคม 2553 ณ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในหัวข้อ "Rethinking: Japan Thailand Mekong Relations"

ทางคณะกรรมการจัดงานฯได้ขยายเวลาการเปิดรับสมัครผู้ส่งบทความเพื่อนำเสนอในการประชุมดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. - 30 มิ.ย. 2553
ตามรายละเอียดเอกสารที่แนบมา เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนักศึกษา ได้นำเสนอผลงานเกี่ยวกับญี่ปุ่นศึกษาในการประชุมครั้งนี้

ทั้งนี้ใคร่ขอเรียนเชิญท่าน และผู้ที่สนใจ เข้าร่วมการประชุมและนำเสนอบทความ ในการประชุมดังกล่าว ทางคณะผู้จัดงานขอความกรุณาท่าน
ส่งแบบตอบรับการเข้าร่วมการประชุมทางอีเมล์มาที่ jsn2553@gmail.com หรือ ทางไปรษณีย์มาที่ ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 50200 ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2553 (ขยายเวลาเปิดรับบทความ)

ทั้งนี้ใคร่ขอความอนุเคราะห์จากท่านประชาสัมพันธ์การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 4 โดยมีโปสเตอร์และจดหมายที่แนบมา
ไปยังบุคคลหรือหน่วยงานที่ท่านเล็งเห็นว่ามีความสนใจที่จะเข้าร่วมนำเสนอบทความ และเข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้ด้วย จักเป็นพระคุณยิ่ง

ท่านสามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม และดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไชต์ http://www.human.cmu.ac.th/ และhttp://www.human.cmu.ac.th/~jsn/
หากท่านมีข้อสงสัยประการใด สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 053-943284 (ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา) หรือทาง อีเมล์jsn2553@gmail.com
หากมีการส่งอีเมล์ซ้ำซ้อน ดิฉันต้องขออภัยมา ณ ที่นี้

ขอแสดงความนับถือ

สิริกร เสือเหลือง
ผู้ประสานงานการจัดการประชุมฯ

2010年度の「短期留学支援奨学金」「成績優秀者奨学金」「日本研究大学院生奨学金」のお知らせ

拝啓 時下ますますご隆盛の由、心からお喜び申し上げます。

このたび、盤谷日本人商工からご支援いただいております、「短期留学支援奨学金」、「成績優秀者奨学金」、「日本研究大学院奨学金」の2010年度募集受付をお知らせいたします。

所定の応募用紙に必要事項を記入した上で、11月20日(消印有効)までに、コンソーシアム事務局までご送付ください。

各種奨学金の詳細につきましては、コンソーシアム事務局(053-943284)までお問い合わせてください。

全ての各種奨学金用紙はここでダウンロードできます。
短期留学支援奨学金
成績優秀者奨学金
日本研究大学院奨学金

พิธีมอบทุนการศึกษา โดย ศูนย์เครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาภาคเหนือ


ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา ร่วมกับ ศูนย์เครือข่ายภาษาญี่ปุ่นและญี่ปุ่นศึกษาระดับอุดมศึกษาภาคเหนือ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ได้จัดพิธีมอบทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษา โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภททุน ได้แก่ ทุนผลการเรียนดีเด่น ทุนศึกษาต่อระยะสั้นที่ญี่ปุ่น และทุนผลการเรียนดีเด่นระดับปริญญาโท
ทางศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา ขอขอบคุณท่านกงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ ท่านคณบดีคณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ท่านคณะกรรมการฝ่ายความชาวยเหลือสังคม ส่วนการศึกษา หอการค้าญี่ปุ่นกรุงเทพฯ และทุกท่าน ที่ได้ให้ความร่วมมือให้พิธีการมอบทุนการศึกษาในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงได้ ด้วยดี และหวังว่าจะได้รับความร่วมมืออีกในโอกาสต่อไปในอนาคต







ขอเชิญร่วมงาน “กระบวนการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของญี่ปุ่น”

สถานกงสุลใหญ่ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ ร่วมกับ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอเชิญท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน เข้าร่วมรับฟังการบรรยายพิเศษ เรื่อง
“กระบวนการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของญี่ปุ่น”
(The Development Process of Democracy in Japan)
โดย
Professor Kaoru Iokibe
ผู้เชี่ยวชาญจาก Institute of Social Science, University of Tokyo, Japan

ผู้สนใจสามารถเข้าร่วม ในวันพุธที่ 12 มกราคม 2554 ตั้งแต่เวลา 13.30 -15.30 น.
ณ ห้อง PSB 1101 คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่นศึกษา

ประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่นศึกษา เขตภาคเหนือ

JENESYS PROGRAMME: 17-26 APR 2011/ 日本訪問プログラム(四月)


รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนญี่ปุ่นศึกษา เขตภาคเหนือ

สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. น.ส.ชยาพร ปรีชาปัญญา
2. น.ส.ปัญจรัตน์ ตรีเทพชาญชัย
3. อ.พนิดา อนันตนาคม
ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. นายเข้ม แสงคำ
5. น.ส.สิริกร เสือเหลือง
6. นายสุรสีห์ สมุทคุปติ์
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
7. อ.ปัญญา สวัสดิ์สกุลไพร
8. น.ส.ปิยะรัตน์ ปรังการ

มหาวิทยาลัยพายัพ
9. นายพล กุลอุปญาณ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย
10. อ.ศุภธิดา นันต๊ะภูมิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่
11. อ.กรุณา กลจักร์

มหาวิทยาลัยพะเยา
12. อ.โขมพัฒน์ ประวัง
13. อ.อิทธิพล บัวย้อย

มหาวิทยาลัยนเรศวร
14. อ.อัจฉรา อึ้งตระกูล
15. น.ส.พันธุ์พิชญา ปัญญาฟู
16. นายณัฐกร คำปวน
17. น.ส.อรสุรางค์ วงษ์เดช
18. นายอุกฤษฏ์ นันทชัยพันธ์
19. น.ส.จิตตินันท์ เชียรแกล้วกล้า

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
20. อ.ปิลาผล กนกรัตน์

ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับคัดเลือกทั้ง 20 ท่าน จะต้องเขียน Purpose of application (ภาษาญี่ปุ่นหรือภาษาอังกฤษ)
ตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้ และสำเนาหนังสือเดินทาง ส่งมาที่ มาที่อีเมล์ northconsortium@gmail.com
ภายใน วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2554
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษาฯ โทรศัพท์ 053-943284
northconsortium@gmail.com

ประกาศทุนการศึกษา

JAPANESE GOVERNMENT(MONBUKAGAKUSHO: MEXT)SCHOLARSHIP
日本政府(文部科学省)奨学金留学生申請書
Japanese Studies Students for 2011(日本語・日本文化研修留学生)

รับสมัครนักศึกษาแลกเปลี่ยนญี่ปุ่นศึกษา ของ มหาวิทยาลัย Ochanomizu

** คุณสมบัติเบื้องต้นของผู้สมัคร
1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย
2. มีวันเกิด ตั้งแต่ 2 เมษายน 1981 - 1 เมษายน 1993
3. กำลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี(สถาบันในประเทศไทย) วิชาเอกภาษาญี่ปุ่น
หรือเคยศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุ่น ในช่วงเวลาที่ได้ไปประเทศญี่ปุ่นและกลับมาแล้ว

ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์สมัคร
1. ผู้ที่เคยได้รับทุนจากรัฐบาลญี่ปุ่น ในช่วงสามปีที่ผ่านมา
2. ผู้ที่ไม่ได้ศึกษาในมหาวิทยาลัยมากกว่าหนึ่งปี (นับถึงเดือนเมษายน 2011)

**เอกสารประกอบการสมัคร
1) ใบสมัคร (แบบฟอร์มเป็นภาษาญี่ปุ่นและภาษาอังกฤษ) 
2) รูปถ่ายขนาด Passport (ไม่เกิน 6 เดือน)
3) เอกสารรับรองการลงทะเบียนเรียนจากมหาวิทยาลัย
4) ใบ Transcript ที่มีผลคะแนน จากมหาวิทยาลัย
(ทำเครื่องหมายวิชาที่เกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นและวัฒนธรรมญี่ปุ่น)
5) หนังสือรับรองจากผู้บริหารหรือที่ปรึกษาทางวิชาการของมหาวิทยาลัย
(ส่งถึงคณบดีมหาวิทยาลัย Ochanomizu)
6) สำเนาทะเบียนบ้าน

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ Monbukagakusho (in Japanese)

*** หมดเขตส่งใบสมัครที่ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา วันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2554

ขอรายละเอียดเพิ่มเติม และแบบฟอร์มขอรับทุนได้ ที่อีเมล์ cmujapancenter@gmail.com
หรือโทรศัพท์ 053-943284 (ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา)

東北地方太平洋沖大震災

2011年3月11日、北日本を、マグニチュード9.0におよぶ地震と津波がが襲い、甚大な被害がありました。
被災者の方々に、心からお見舞い申し上げます。
不幸にしてお亡くなりになった方々とご遺族の皆様に、深くお悔やみ申し上げます。
既に多くの大学から、被災者への支援の申し出がでてきています。
在チェンマイ総領事館から、平成23年3月16日付けで、義援金の受付と弔意記帳所設置のお知らせが届きましたので、コンソーシアムの加盟団体の皆様へお知らせいたします。

次の銀行口座で義援金を受け付けています。

義援金振込先口座
銀行名:Bangkok Bank
支店名:Pratu Changphuak
口座名:Consulate-General of Japan (for assist the victims in Japan)
口座番号:390-3-088668









弔意記帳所が在チェンマイ日本国総領事館設置が設置されたそうです。

3月11日に発生した東北地方太平洋沖地震に関し,在チェンマイ日本国総
領事において犠牲者の皆様に対し弔意を表していただくための記帳所を設置し
ましたので,以下のとおりお知らせいたします。

期間:3月16日(水)~23日(水)
※ただし,3月19日(土)及び20日(日)を除きます。
時間:午前9時00分~午後4時30分
場所:在チェンマイ日本国総領事館
(エアポート・ビジネスパーク1Fロビー)
照会先:053-203367

International Essay Contest 2011


The Goi Peace Foundation ขอเชิญผู้ที่สนใจ อายุไม่เกิน 25 ปี
ส่งความเรียง ในหัวข้อ "MY STORY OF INSPIRATION" ชิงเงินรางวัลกว่าหนึ่งแสนเยน
ติดตามรายละเอียด ได้ที่ English และ 日本語
THEME: "MY STORY OF INSPIRATION"
Many people experience inner change that motivates them to create a better world.
Please share your story of inspiration that has affected your life and changed you to make a change in the world.
GUIDELINES:
1. Essays may be submitted by anyone up to 25 years old (as of June 30, 2011) in one of the following age categories:
a) Children (ages up to 14) b) Youth (ages 15 - 25)
2. Essays must be 800 words or less in English, French, Spanish or German; or 1600 characters or less in Japanese, typed or printed.
3. Essays must have a cover page indicating (1) category (Children or Youth) (2) essay title
(3) your name (4) address (5) phone number (6) e-mail (7) nationality
(8) age as of June 30, 2011 (9) gender (10) school name (if applicable) (11) word count.
Teachers and youth directors may submit a collection of essays from their class or group. Please enclose a list of participants' names and the name and contact information of the submitting teacher or director.
* Entries missing any of the above information will not be considered.
4. Entries may be submitted by postal mail or online.
* IMPORTANT: To send your essay online, you must go to the online registration page at http://www.goipeace.or.jp/and follow the required steps.
5. Essays must be original and unpublished.
6. Essays must be written by one person. Co-authored essays are not accepted.
7. Copyright of the essays entered will be assigned to the organizers.
DEADLINE: Entries must be received by June 30, 2011



2011年度(平成23年度) JPO派遣候補者選考試験




2011年度(平成23年度)

JPO派遣候補者選考試験

募集要綱

1. 応募資格


(1)年齢 2011年4月1日現在、35歳以下であること
(生年月日が1975年4月2日以降)

(2)経歴 外務省として派遣可能な国際機関に関連する分野における大学院修士課程を修了し(2012年6月までに修了見込みを含む)、当該分野に関連する職種において応募時点で2年以上の職務経験を有すること(アルバイト、在学中のインターン等は職歴とみなしません)

(3)語学 英語又は仏語のうち少なくとも1カ国語で職務遂行が可能であること。

(4)将来にわたり国際機関で働く意思を有すること

(5)日本国籍を有すること

(注1)
既に国際機関専門職の正規職員の方(コンサルタント契約、6ヶ月以内の短期雇用経験者を除く)又はJPOとしての経験を有する方は応募資格がありません。

(注2)
外務省として派遣可能な国際機関については、「JPO派遣制度の御案内」を参照のこと

2. 応募方法

(1)提出書類 和文及び英文の応募用紙各1部

和文応募用紙はこちら(Word形式)  英文応募用紙はこちら(Word形式)


(2)提出先 外務省国際機関人事センター

〒100-8919 東京都千代田区霞が関2-2-1

(3)提出方法 郵送などにより送付のこと(FAX・電子メール・直接持参不可)

(4)提出期間 2011年4月11日(月)~2011年6月3日(金)(17:00必着)

(注1)
インターネットが使用できない環境にあり、応募用紙が入手できない場合には、外務省国際機関人事センター又は日本政府代表部に連絡してください。(「6.問い合わせ先」を参照のこと)

(注2)
提出された応募用紙は、理由の如何を問わず返却しません。

(注3)
提出書類は必ず一括して郵送してください。後からの追加提出や提出後の応募書類の差し替えは理由の如何を問わず受け付けません。

(注4)
合否通知等は電子メールで行いますので、応募用紙には、必ず電子メールアドレスを記入してください。

(注5)
応募書類の受領後、6月10日(金)までに外務省国際機関人事センターから受領確認通知を各応募者に電子メールで送付します。

(注6)
応募書類提出後に住所等連絡先に変更が生じた場合には、必ず外務省国際機関人事センターまで連絡してください。

(注7)
第1次審査合格者には、第2次審査(面接審査)当日に、応募用紙の提出締切り日(2011年6月3日(金))までの過去1年以内に受験したTOEFL又はTEFのスコア又は国連英検特A級を合格した際の第1次及び第2次試験結果通知書の「原本」の提出を求めます。なお、第2次審査(面接審査)当日にスコア又は結果通知書の「原本」を提出できない場合には、2011年8月末必着で「原本」を郵送にて外務省国際機関人事センターに提出することを条件に、語学スコア等の「写し」の提出も可とします。但し、8月末までに「原本」が提出されない場合や「原本」と「写し」の内容が一致しない場合などは、受験資格を満たしていないものとして扱います。

3. 選考方法

(1)第1次審査 書面審査 
応募書類を基に行います。

(2)第2次審査 面接審査 (受験地は東京のみ)
2011年7月下旬~8月中旬(予定)

面接は主として日本語で行いますが、受験語を用いて職務を行う能力を判定するため、一部受験語による応答等を取り入れます。

4. 合格発表

第1次審査及び第2次審査の合否結果は、各応募者宛に電子メールにて通知します。

第2次審査を合格した者に対しては、合格通知とともに、外務省で内定した派遣先国際機関を通知します。

合格発表予定時期 第1次審査:7月中旬

第2次審査:9月中旬~下旬

5. 応募に際しての注意事項 (派遣先国際機関 ・ 専門分野について)

(1)外務省では、国連をはじめとする様々な国際機関や専門分野に派遣できる人材を求めています。具体的には、開発、人権、人道、教育、保健、平和構築等の分野に加え、IT、ロジスティクス、調達、法務、財務、広報(渉外関係)、人事、モニタリング評価(M&E)、環境、工学、理学、農学、薬学、建築等の分野のバックグラウンドを有する方からの応募を期待しています。

(2)JPO派遣制度は、日本政府が派遣に係る経費を負担して実施していますが、派遣のために一人あたり年間1千万を超える経費がかかります。外務省では、戦略的にJPO派遣制度を運用するため、各JPO候補者の派遣先国際機関について、各人の経歴、専門分野、資質、希望等に加え、当該国際機関においてJPOとして実績を残せるかどうか、将来的な残留の可能性等について、場合によっては国際機関の見解も聴取し、総合的に勘案した上で内定します。応募者の希望と異なる国際機関へ内定することがありますが、当該国際機関が受入れを拒否した場合を除き、変更はいたしません。

(3)正式な派遣先国際機関は、該当する国際機関から正式にポストをオファーされた段階で決定します。国際機関側からのポストオファーは、経歴、専門性、資質、希望等を踏まえた上で行われます。このポストオファーを断った場合は、合格が取り消され、JPO派遣候補者としての資格を失うこととなります。

(4)派遣先国際機関によっては、JPO受入れに際して年齢制限を設けている機関もあるため、その機関を希望していても派遣できない場合があります。

(5)2011年度試験の合格者の派遣開始時期は、2012年4月1日~2013年3月31日までですが、2012年12月中に赴任することが推奨されます。この間にJPOとしての勤務を開始できない場合には、JPO派遣候補者の資格を失うことがあります。また、一部のJPOについては、2011年度中(~2012年3月31日)に派遣を開始する場合があり得ます(詳細については、面接審査の際に説明する予定)。

6. 問い合わせ先

外務省国際機関人事センター
〒100-8919 東京都千代田区霞が関2-2-1
TEL:+81-(0)3-3580-3311(内線2841)
FAX:+81-(0)3-5501-8437
jinji-center@mofa-irc.go.jp

国際連合日本政府代表部
TEL:+1-212-521-1528 <jinji-center@dn.mofa.go.jp>
在ジュネーブ国際機関日本政府代表部
TEL:+41-22-717-3111
在ウィーン国際機関日本政府代表部
TEL:+43-1-260-6337

from http://www.mofa-irc.go.jp/boshu/jpo_haken_boshuyoko2011.htm